หน่วยที่1.2
1.ความหมายของเทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
2.เทคโนโลยีกับการเปลี่ยนแปลง สังคมยุคใหม่
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมทั่วโลกที่เป็นไปตามกระแสการเปลี่ยนของเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านการสื่อสารแลข้อมูลสารสนเทศ ประสิทธิภาพของการส่งข้อมูลและข่าวสารมีความทันสมัยและรวดเร็วและด้วยเทคโนโลยีทำให้การรับรู้เป็นไปอย่างสมบูรณ์มากขึ้น ทั้งภาพและเสียงระบบการกระจายข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็วไม่จำกัดช่องทางหรือตัวกลาง ผลจากการพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีทุกด้านทำให้เกิดผลกระทบกับระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทำให้เกิดแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญหลายด้านแนวโน้มที่สำคัญ ประกอบด้วย
1) เทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ
2) เทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน เป็นการพัฒนาขึ้นมาใช้สำหรับบุคคลเทคโนโลยีสร้างอุปกรณ์ต่างๆเพื่อเน้นการตอบสนองตามความต้องการ โดยสร้างพื้นฐานของอุปกรณ์รองรับทั้งด้านการเชื่อมโยงเครือข่ายทำให้กระบวนการที่ซับซ้อนสามารถเป็นไปได้ เทคโนโลยีพัฒนาก้าวหน้าเพื่อให้สามารถนำทุกการคิดค้นต่างๆขึ้นมาตอบสนองและลดปัญหาต่างๆของมนุษย์
3) เทคโนโลยีทำให้เกิดรูปแบบขององค์กรที่สามารถประกอบการหรือดำเนินกิจกรรมได้ทุกสถานที่ และทุกเวลาอาศัยการสื่อสารที่ก้าวหน้าและแพร่หลายขึ้นผ่านระบบเครือข่าย การประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบนเครือข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลักษณะของการดำเนินงานเหล่านี้ ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแห่งตลอด 24 ชั่วโมง กิจกรรมทางเศรษฐกิจจัดการได้สะดวกมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการวางระบบเอทีเอ็มที่ทำให้การเบิกจ่ายได้ตลอดเวลาและกระจายถึงตัวผู้รับบริการมากขึ้น
4) เทคโนโลยีทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นเชื่อมโยงสู่ระดับเศรษฐกิจโลกที่ไม่มีขีดจำกัดด้านสถานที่ การซื้อขายที่ผ่านระบบอินเตอร์เนททำให้เกิดรูปแบบการค้าที่ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจในโลกสามารถเชื่อมโยงและเอื้อประโยชน์ในรูปแบบต่างๆมากขึ้น
5) เทคโนโลยีส่งผลให้องค์กรมีลักษณะแบบเครือข่ายมากขึ้น องค์กรมีการวางเป็นลำดับขั้นสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่อสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีขึ้น มีการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกันเป็นกลุ่มงานเพิ่มคุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศองค์กรกลายเป็นการบริหารข่ายงานที่มีลักษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น การออกแบบหน่วยธุรกิจขนาดเล็กลงและเน้นการทำงานเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่ายตามความเชี่ยวชาญและประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์เป็นหลัก โครงสร้างขององค์กรได้รับผลตามกระแสของเทคโนโลยีอย่างสมบูรณ์
6) เทคโนโลยีทำเกิดการวางแผนการดำเนินการบริหารที่สร้างความได้เปรียบเพื่อให้เกิดความยั่งยืนมากขึ้น ระบบการตัดสินใจวางแผนมีแบบแผนและมีประสิทธิภาพ แนวทฤษฎีทางความคิดการบริหารเปลี่ยนไปมีความยืดหยุ่นและมองหลายมิติมากขึ้น
7) เทคโนโลยีได้กลายเป็นตัวแปรที่สำคัญในทุกด้านมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษา เศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก การเชื่อมโยงข่าวสารจากประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลกสามารถรับรู้ข่าวสาร ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการสื่อสารระหว่างกันและติดต่อกับคนได้ทั่วโลก ผลกระทบที่ตามมาของ
การส่งผ่านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลักษณะเป็นสังคมโลกมากขึ้น
ระบบของเทคโนโลยี
เมื่อพูดถึงระบบ สิ่งที่ต้องนึกถึงก็คือ จะประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ตัวป้อน(input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) ซึ่งหมายความว่า อะไรก็ตามที่เป็นระบบ การทำงานของทั้งสามองค์ประกอบนี้ก็จะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เช่น ในระบบบำบัดน้ำเสีย มีตัวป้อนคือ "น้ำเสีย"ที่เกิดจากระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม นำมาผ่าน "กระบวนการ"เพื่อการบำบัดอย่างเหมาะสม เช่น กรองกากของเสีย ทำการตกตะกอน ลดอุณหภูมิ หรือแยกโลหะหนักและสารปนเปื้อน เติมจุลินทรีย์ จนได้ผลลัพธ์หรือผลผลิตคือ "น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้ว"
ภาพแสดงระบบบำบัดน้ำเสีย
3.ระบบเทคโนโลยี (Technological System) คือระบบที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ โดยระบบเทคโนโลยี มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วน ซึ่งมีความสัมพันธ์กันดังภาพ
จากแผนภาพดังกล่าว สามารถอธิบายได้ดังนี้
1. ตัวป้อน (Input) คือ ปัญหาที่ต้องการแก้ไข หรือ ความต้องการของมนุษย์
2. กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือการตอบสนองความต้องการ โดยอาศัยทรัพยากรทางเทคโนโลยีเพื่อให้ได้ผลผลิตหรือผลลัพธ์
3. ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output หรือ Outcome) คือ สิ่งทีไ่ด้มา หรือเกิดขึ้นจากกระบวนการเทคโนโลยี หรือผลที่ได้จากกระบวนการแก้ปัญหานั่นเอง โดยผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่ได้จากระบวนการเทคโนโลยี(กระบวนการแก้ปัญหา)นี้อาจ เป็น ชิ้นงาน (Product) หรืออาจเป็นวิธีการ (Methodology)
4. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) คือสิ่งที่จำเป็นต้องใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตหรือผลลัพธ์นั่นเอง ซึ่งทรัพยากรทางเทคโนโลยี แบ่งได้ 7 ด้าน ได้แก่ คน ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ พลังงาน ทุนหรือทรัพย์สิน และเวลา
5. ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Constraints) คือ สิ่งที่เป็นข้อจำกัด ข้อพิจารณา หรือสิ่งที่ต้องคำนึงถึง ซึ่งจะทำให้การแก้ปัญหาได้ผลงานแตกต่างกันไป เช่น มีทุนน้อย มีเวลาจำกัด ไม่มีความรู้หรือความชำนาญ ขาดทักษะและความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ
4.กระบวนการเทคโนโลยี
มนุษย์ต้องเผชิญปัญหาหรือความต้องการเสมอ ในอดีตมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการเฉพาะปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตเท่า นั้น เช่น ต้องการอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของคนในยุคนั้นอาศัยเพียงทรัพยากรที่อยู่รอบ ตัวรวมทั้งประสบการณ์ที่สั่งสมมาก็เพียงพอ เช่น มนุษย์ยุคหินใช้ก้อนหินและกิ่งไม้สำหรับล่าสัตว์ แต่ในปััจจุบันปัญหาหรือความต้องการมีจำนวนมากและซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงต้องอาศัยทั้งความรู้ ทรัพยากรและประสบการณ์ที่สูงและผสมผสานกันมากขึ้น และการแก้ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องมีขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งขั้นในการแก้ปัญหานี้ เราเรียกว่า "กระบวนการเทคโนโลยี"
กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่าง หนึ่งขึ้นมา เพื่อใช้สำหรับแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด้วยขัั้นตอนสำคัญ 7 ขั้นตอน ดังนี้
1. กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
2. รวบรวมข้อมูล
3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
4. ออกแบบและปฏิบัติการ
5. ทดสอบ
6. ปรับปรุงแก้ไข
7. ประเมินผล
กระบวนการเทคโนโยีหรือขั้นตอนการแก้ปัญหา สามารถเขียนเป็นแผนผังเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย ดังภาพด้านล่าง
1. กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
2. รวบรวมข้อมูล
3. รวบรวมข้อมูล
4. เลือกวิธีการ
5. เลือกวิธีการ
6. ออกแบบและปฏิบัติการ
7. ออกแบบและปฏิบัติการ
8. ทดสอบ
9. ทดสอบ
10. ปรับปรุงแก้ไข
11. ปรับปรุงแก้ไข
12. ประเมินผล
13. ประเมินผล
ตัวอย่าง การแก้ปัญหาตามกระบวนการเทคโนโลยี
สถานการณ์เทคโนโลยี
เจ้าของกิจการสวนส้มนำผลผลิตไปวางจำหน่าย พบว่า เมื่อวางส้มจำหน่ายเพียง 1-2 วัน ส้มจะเริ่มมีสีผิวเปลี่ยนไป ผลส้มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้ขายส้มได้เพียงไม่กี่วัน มีราคาตำต่ำลง และมีส้มที่ต้องนำไปทิ้งจำนวนมาก
ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
ปัญหาคือ ส้มที่วางจำหน่ายเพียง 1-2 วัน เริ่มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้จำหน่ายส้มได้เพียงไม่กี่วัน และมีราคาตกต่ำ จึงควรหาวิธีการเก็บรักษาส้มให้อยู่ได้นานโดยไม่เหี่ยวและเน่าเสีย
ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูล
เมื่อทราบปัญหาแล้ว จึงทำการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พบว่า ส้มที่ปลูกและจำหน่ายเป็นส้มที่อยู่ในตระกูล Citrus ซึ่งมีผิวบาง สาเหตุที่ทำให้ผลส้มเหี่ยวคือการสูญเสียน้ำ ส่วนสาเหตุที่ทำให้ผลเน่า เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อรา จากการศึกษาทราบว่า ถ้าต้องการเก็บส้มไว้ให้นานสามารถทำได้โดยลดอัตราการหายใจและทำให้ผลของส้ม ปราศจากจุลินทรีย์และเชื้อราซึ่งเป็นสาเหตุของการเน่าเสีย ซึ่งวิธีการที่จะช่วยลดอัตราการหารใจและป้องกันจุลินทรีย์และเชื้อราที่เป็น สาเหตุของการเน่าเสียคือ การปิดกั้นผิวส้มไม่ให้สัมผัสกับอากาศจากภายนอก เช่น ใช้วัสดุห่อหุ้ม บรรจุในถุงสูญญากาศ เคลือบผิวส้มด้วยว้สดุต่างๆ
สถานการณ์เทคโนโลยี
เจ้าของกิจการสวนส้มนำผลผลิตไปวางจำหน่าย พบว่า เมื่อวางส้มจำหน่ายเพียง 1-2 วัน ส้มจะเริ่มมีสีผิวเปลี่ยนไป ผลส้มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้ขายส้มได้เพียงไม่กี่วัน มีราคาตำต่ำลง และมีส้มที่ต้องนำไปทิ้งจำนวนมาก
ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
ปัญหาคือ ส้มที่วางจำหน่ายเพียง 1-2 วัน เริ่มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้จำหน่ายส้มได้เพียงไม่กี่วัน และมีราคาตกต่ำ จึงควรหาวิธีการเก็บรักษาส้มให้อยู่ได้นานโดยไม่เหี่ยวและเน่าเสีย
ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการแก้ปัญหา
จากการศึกษาข้อมูลแล้วตัดสินใจเลือกใช้วิธีบรรจุส้มไว้ในถุงพลาสติกเพื่อลด การหายใจ แล้วป้องกันส้มจากจุลินทรีย์และเชื้อรา โดยถุงพลาสติกที่ใช้ก็สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น
มนุษย์ต้องเผชิญปัญหาหรือความต้องการเสมอ ในอดีตมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการเฉพาะปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตเท่า นั้น เช่น ต้องการอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของคนในยุคนั้นอาศัยเพียงทรัพยากรที่อยู่รอบ ตัวรวมทั้งประสบการณ์ที่สั่งสมมาก็เพียงพอ เช่น มนุษย์ยุคหินใช้ก้อนหินและกิ่งไม้สำหรับล่าสัตว์ แต่ในปััจจุบันปัญหาหรือความต้องการมีจำนวนมากและซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงต้องอาศัยทั้งความรู้ ทรัพยากรและประสบการณ์ที่สูงและผสมผสานกันมากขึ้น และการแก้ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องมีขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งขั้นในการแก้ปัญหานี้ เราเรียกว่า "กระบวนการเทคโนโลยี"
ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ
หลังจากเลือกวิธีการได้แล้ว จึงทำการออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยการเขียนจำลองความคิดดังแผนภูมิด้านล่าง จากนั้นจึงลงมือดำเนินการแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่ออกแบบไว้
ขั้นที่ 5 ทดสอบ
ทำการทดสอบว่าวิธีการนำส้มบรรจุในถุงพลาสติกใสแล้วผูกปากถุง จะสามารถเก็บไว้ได้นานกว่า 1-2 วันหรือไม่ ซึ่งจากการทดสอบพบว่า ส้มสามารถเก็บได้นาน 4-5 วัน ก็เริ่มเน่าเหมือนเดิม
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแก้ไข
การนำส้มบรรจุในถุงพลาสติกแล้วผูกปากถุง ถึงแม้จะสามารถเก็บไว้นานขึ้น แต่ก็ยังเน่าเหมือนเดิม จึงทำการปรับปรุงแก้ไข โดยออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ขั้นที่ 7 ประเมินผล
ทำการประเมินผลว่า วิธีการที่ได้ดำเนินไปนั้น สามารถแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ มีส่วนใดที่ต้องพัฒนาหรือปรับปรุงให้ดีขึ้นอีกได้หรือไม่
5.การเลือกใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินกิจกรรมต่างๆของมนุษย์มาก มาย แต่ในขณะเดียวกันก็มีการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ เช่น ผลกระทบต่อชีวิต ผลกระทบต่อสังคมและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การใส่สารเคมีลงในอาหารเพื่อปรับปรุงรสชาติหรือคุณภาพของอาหาร แต่อาจทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ จัดเป็นผลกระทบต่อชีวิต
ปัญหาการล่อลวงไปทำให้เกิดความเสียหาย ผ่านทาง Social media ต่างๆ เช่น ทาง Facebook หรือ Skype ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม
ปัญหาการเผยแพร่คลิปวีดีโอที่ไม่เหมาะสม เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม
ปัญหาการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพ่ิมมากขึ้น จนทำให้เกิดปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งนับวันจะเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งนับเป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่า การเลือกใช้เทคโนโลยีใดโดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ใช้เทคโนโลยีอย่างไม่เหมาะสม เกินความจำเป็นหรือมากเกินไป ใช้แบบขาดสติความยั้งคิด ขาดจริยธรรม ขาดความรับผิดชอบ ก็จะทำให้เกิดผลเสียหายในด้านต่างๆตามมาอย่างมากมาย
ผลกระทบที่เกิดจาการใช้เทคโนโลยีต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น หากมนุษย์ยังขาดการไตร่ตรองพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนนำเทคโนโลยีมาใช้ ดังนั้นก่อนการเลือกใช้เทคโนโลยีใดๆควรจะได้มีการวิเคราะห์ถึงผลกระทบทั้ง ผลดีและผลเสียอย่างรอบคอบเสียก่อน และประการสำคัญก็คือ การตัดสินในเลือกใช้เทคโนโลยีควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการที่แท้จริง ซึ่งหลักเกณฑ์ที่สำคัญในการเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ก็คือ การเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ
2.เทคโนโลยีกับการเปลี่ยนแปลง สังคมยุคใหม่
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมทั่วโลกที่เป็นไปตามกระแสการเปลี่ยนของเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านการสื่อสารแลข้อมูลสารสนเทศ ประสิทธิภาพของการส่งข้อมูลและข่าวสารมีความทันสมัยและรวดเร็วและด้วยเทคโนโลยีทำให้การรับรู้เป็นไปอย่างสมบูรณ์มากขึ้น ทั้งภาพและเสียงระบบการกระจายข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็วไม่จำกัดช่องทางหรือตัวกลาง ผลจากการพัฒนารูปแบบเทคโนโลยีทุกด้านทำให้เกิดผลกระทบกับระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทำให้เกิดแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญหลายด้านแนวโน้มที่สำคัญ ประกอบด้วย
1) เทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ
2) เทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน เป็นการพัฒนาขึ้นมาใช้สำหรับบุคคลเทคโนโลยีสร้างอุปกรณ์ต่างๆเพื่อเน้นการตอบสนองตามความต้องการ โดยสร้างพื้นฐานของอุปกรณ์รองรับทั้งด้านการเชื่อมโยงเครือข่ายทำให้กระบวนการที่ซับซ้อนสามารถเป็นไปได้ เทคโนโลยีพัฒนาก้าวหน้าเพื่อให้สามารถนำทุกการคิดค้นต่างๆขึ้นมาตอบสนองและลดปัญหาต่างๆของมนุษย์
3) เทคโนโลยีทำให้เกิดรูปแบบขององค์กรที่สามารถประกอบการหรือดำเนินกิจกรรมได้ทุกสถานที่ และทุกเวลาอาศัยการสื่อสารที่ก้าวหน้าและแพร่หลายขึ้นผ่านระบบเครือข่าย การประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบนเครือข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลักษณะของการดำเนินงานเหล่านี้ ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแห่งตลอด 24 ชั่วโมง กิจกรรมทางเศรษฐกิจจัดการได้สะดวกมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการวางระบบเอทีเอ็มที่ทำให้การเบิกจ่ายได้ตลอดเวลาและกระจายถึงตัวผู้รับบริการมากขึ้น
4) เทคโนโลยีทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นเชื่อมโยงสู่ระดับเศรษฐกิจโลกที่ไม่มีขีดจำกัดด้านสถานที่ การซื้อขายที่ผ่านระบบอินเตอร์เนททำให้เกิดรูปแบบการค้าที่ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจในโลกสามารถเชื่อมโยงและเอื้อประโยชน์ในรูปแบบต่างๆมากขึ้น
5) เทคโนโลยีส่งผลให้องค์กรมีลักษณะแบบเครือข่ายมากขึ้น องค์กรมีการวางเป็นลำดับขั้นสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสื่อสารแบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีขึ้น มีการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกันเป็นกลุ่มงานเพิ่มคุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศองค์กรกลายเป็นการบริหารข่ายงานที่มีลักษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น การออกแบบหน่วยธุรกิจขนาดเล็กลงและเน้นการทำงานเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่ายตามความเชี่ยวชาญและประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์เป็นหลัก โครงสร้างขององค์กรได้รับผลตามกระแสของเทคโนโลยีอย่างสมบูรณ์
6) เทคโนโลยีทำเกิดการวางแผนการดำเนินการบริหารที่สร้างความได้เปรียบเพื่อให้เกิดความยั่งยืนมากขึ้น ระบบการตัดสินใจวางแผนมีแบบแผนและมีประสิทธิภาพ แนวทฤษฎีทางความคิดการบริหารเปลี่ยนไปมีความยืดหยุ่นและมองหลายมิติมากขึ้น
7) เทคโนโลยีได้กลายเป็นตัวแปรที่สำคัญในทุกด้านมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษา เศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก การเชื่อมโยงข่าวสารจากประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลกสามารถรับรู้ข่าวสาร ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการสื่อสารระหว่างกันและติดต่อกับคนได้ทั่วโลก ผลกระทบที่ตามมาของ
การส่งผ่านวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลักษณะเป็นสังคมโลกมากขึ้น
ระบบของเทคโนโลยี
เมื่อพูดถึงระบบ สิ่งที่ต้องนึกถึงก็คือ จะประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ตัวป้อน(input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) ซึ่งหมายความว่า อะไรก็ตามที่เป็นระบบ การทำงานของทั้งสามองค์ประกอบนี้ก็จะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เช่น ในระบบบำบัดน้ำเสีย มีตัวป้อนคือ "น้ำเสีย"ที่เกิดจากระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม นำมาผ่าน "กระบวนการ"เพื่อการบำบัดอย่างเหมาะสม เช่น กรองกากของเสีย ทำการตกตะกอน ลดอุณหภูมิ หรือแยกโลหะหนักและสารปนเปื้อน เติมจุลินทรีย์ จนได้ผลลัพธ์หรือผลผลิตคือ "น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้ว"
ภาพแสดงระบบบำบัดน้ำเสีย
3.ระบบเทคโนโลยี (Technological System) คือระบบที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ โดยระบบเทคโนโลยี มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วน ซึ่งมีความสัมพันธ์กันดังภาพ
จากแผนภาพดังกล่าว สามารถอธิบายได้ดังนี้
1. ตัวป้อน (Input) คือ ปัญหาที่ต้องการแก้ไข หรือ ความต้องการของมนุษย์
2. กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือการตอบสนองความต้องการ โดยอาศัยทรัพยากรทางเทคโนโลยีเพื่อให้ได้ผลผลิตหรือผลลัพธ์
3. ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output หรือ Outcome) คือ สิ่งทีไ่ด้มา หรือเกิดขึ้นจากกระบวนการเทคโนโลยี หรือผลที่ได้จากกระบวนการแก้ปัญหานั่นเอง โดยผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่ได้จากระบวนการเทคโนโลยี(กระบวนการแก้ปัญหา)นี้อาจ เป็น ชิ้นงาน (Product) หรืออาจเป็นวิธีการ (Methodology)
4. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) คือสิ่งที่จำเป็นต้องใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตหรือผลลัพธ์นั่นเอง ซึ่งทรัพยากรทางเทคโนโลยี แบ่งได้ 7 ด้าน ได้แก่ คน ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ พลังงาน ทุนหรือทรัพย์สิน และเวลา
5. ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Constraints) คือ สิ่งที่เป็นข้อจำกัด ข้อพิจารณา หรือสิ่งที่ต้องคำนึงถึง ซึ่งจะทำให้การแก้ปัญหาได้ผลงานแตกต่างกันไป เช่น มีทุนน้อย มีเวลาจำกัด ไม่มีความรู้หรือความชำนาญ ขาดทักษะและความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ
4.กระบวนการเทคโนโลยี
มนุษย์ต้องเผชิญปัญหาหรือความต้องการเสมอ ในอดีตมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการเฉพาะปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตเท่า นั้น เช่น ต้องการอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของคนในยุคนั้นอาศัยเพียงทรัพยากรที่อยู่รอบ ตัวรวมทั้งประสบการณ์ที่สั่งสมมาก็เพียงพอ เช่น มนุษย์ยุคหินใช้ก้อนหินและกิ่งไม้สำหรับล่าสัตว์ แต่ในปััจจุบันปัญหาหรือความต้องการมีจำนวนมากและซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงต้องอาศัยทั้งความรู้ ทรัพยากรและประสบการณ์ที่สูงและผสมผสานกันมากขึ้น และการแก้ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องมีขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งขั้นในการแก้ปัญหานี้ เราเรียกว่า "กระบวนการเทคโนโลยี"
กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่าง หนึ่งขึ้นมา เพื่อใช้สำหรับแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด้วยขัั้นตอนสำคัญ 7 ขั้นตอน ดังนี้
1. กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
2. รวบรวมข้อมูล
3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
4. ออกแบบและปฏิบัติการ
5. ทดสอบ
6. ปรับปรุงแก้ไข
7. ประเมินผล
กระบวนการเทคโนโยีหรือขั้นตอนการแก้ปัญหา สามารถเขียนเป็นแผนผังเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย ดังภาพด้านล่าง
1. กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
2. รวบรวมข้อมูล
3. รวบรวมข้อมูล
4. เลือกวิธีการ
5. เลือกวิธีการ
6. ออกแบบและปฏิบัติการ
7. ออกแบบและปฏิบัติการ
8. ทดสอบ
9. ทดสอบ
10. ปรับปรุงแก้ไข
11. ปรับปรุงแก้ไข
12. ประเมินผล
13. ประเมินผล
ตัวอย่าง การแก้ปัญหาตามกระบวนการเทคโนโลยี
สถานการณ์เทคโนโลยี
เจ้าของกิจการสวนส้มนำผลผลิตไปวางจำหน่าย พบว่า เมื่อวางส้มจำหน่ายเพียง 1-2 วัน ส้มจะเริ่มมีสีผิวเปลี่ยนไป ผลส้มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้ขายส้มได้เพียงไม่กี่วัน มีราคาตำต่ำลง และมีส้มที่ต้องนำไปทิ้งจำนวนมาก
ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
ปัญหาคือ ส้มที่วางจำหน่ายเพียง 1-2 วัน เริ่มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้จำหน่ายส้มได้เพียงไม่กี่วัน และมีราคาตกต่ำ จึงควรหาวิธีการเก็บรักษาส้มให้อยู่ได้นานโดยไม่เหี่ยวและเน่าเสีย
ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูล
เมื่อทราบปัญหาแล้ว จึงทำการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พบว่า ส้มที่ปลูกและจำหน่ายเป็นส้มที่อยู่ในตระกูล Citrus ซึ่งมีผิวบาง สาเหตุที่ทำให้ผลส้มเหี่ยวคือการสูญเสียน้ำ ส่วนสาเหตุที่ทำให้ผลเน่า เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อรา จากการศึกษาทราบว่า ถ้าต้องการเก็บส้มไว้ให้นานสามารถทำได้โดยลดอัตราการหายใจและทำให้ผลของส้ม ปราศจากจุลินทรีย์และเชื้อราซึ่งเป็นสาเหตุของการเน่าเสีย ซึ่งวิธีการที่จะช่วยลดอัตราการหารใจและป้องกันจุลินทรีย์และเชื้อราที่เป็น สาเหตุของการเน่าเสียคือ การปิดกั้นผิวส้มไม่ให้สัมผัสกับอากาศจากภายนอก เช่น ใช้วัสดุห่อหุ้ม บรรจุในถุงสูญญากาศ เคลือบผิวส้มด้วยว้สดุต่างๆ
สถานการณ์เทคโนโลยี
เจ้าของกิจการสวนส้มนำผลผลิตไปวางจำหน่าย พบว่า เมื่อวางส้มจำหน่ายเพียง 1-2 วัน ส้มจะเริ่มมีสีผิวเปลี่ยนไป ผลส้มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้ขายส้มได้เพียงไม่กี่วัน มีราคาตำต่ำลง และมีส้มที่ต้องนำไปทิ้งจำนวนมาก
ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ
ปัญหาคือ ส้มที่วางจำหน่ายเพียง 1-2 วัน เริ่มเหี่ยวและเน่าเสียจำนวนมาก ทำให้จำหน่ายส้มได้เพียงไม่กี่วัน และมีราคาตกต่ำ จึงควรหาวิธีการเก็บรักษาส้มให้อยู่ได้นานโดยไม่เหี่ยวและเน่าเสีย
ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการแก้ปัญหา
จากการศึกษาข้อมูลแล้วตัดสินใจเลือกใช้วิธีบรรจุส้มไว้ในถุงพลาสติกเพื่อลด การหายใจ แล้วป้องกันส้มจากจุลินทรีย์และเชื้อรา โดยถุงพลาสติกที่ใช้ก็สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น
มนุษย์ต้องเผชิญปัญหาหรือความต้องการเสมอ ในอดีตมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการเฉพาะปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตเท่า นั้น เช่น ต้องการอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของคนในยุคนั้นอาศัยเพียงทรัพยากรที่อยู่รอบ ตัวรวมทั้งประสบการณ์ที่สั่งสมมาก็เพียงพอ เช่น มนุษย์ยุคหินใช้ก้อนหินและกิ่งไม้สำหรับล่าสัตว์ แต่ในปััจจุบันปัญหาหรือความต้องการมีจำนวนมากและซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการแก้ปัญหาจึงต้องอาศัยทั้งความรู้ ทรัพยากรและประสบการณ์ที่สูงและผสมผสานกันมากขึ้น และการแก้ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องมีขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งขั้นในการแก้ปัญหานี้ เราเรียกว่า "กระบวนการเทคโนโลยี"
ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ
หลังจากเลือกวิธีการได้แล้ว จึงทำการออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยการเขียนจำลองความคิดดังแผนภูมิด้านล่าง จากนั้นจึงลงมือดำเนินการแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่ออกแบบไว้
ขั้นที่ 5 ทดสอบ
ทำการทดสอบว่าวิธีการนำส้มบรรจุในถุงพลาสติกใสแล้วผูกปากถุง จะสามารถเก็บไว้ได้นานกว่า 1-2 วันหรือไม่ ซึ่งจากการทดสอบพบว่า ส้มสามารถเก็บได้นาน 4-5 วัน ก็เริ่มเน่าเหมือนเดิม
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแก้ไข
การนำส้มบรรจุในถุงพลาสติกแล้วผูกปากถุง ถึงแม้จะสามารถเก็บไว้นานขึ้น แต่ก็ยังเน่าเหมือนเดิม จึงทำการปรับปรุงแก้ไข โดยออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ขั้นที่ 7 ประเมินผล
ทำการประเมินผลว่า วิธีการที่ได้ดำเนินไปนั้น สามารถแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ มีส่วนใดที่ต้องพัฒนาหรือปรับปรุงให้ดีขึ้นอีกได้หรือไม่
5.การเลือกใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินกิจกรรมต่างๆของมนุษย์มาก มาย แต่ในขณะเดียวกันก็มีการใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ เช่น ผลกระทบต่อชีวิต ผลกระทบต่อสังคมและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
การใส่สารเคมีลงในอาหารเพื่อปรับปรุงรสชาติหรือคุณภาพของอาหาร แต่อาจทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ จัดเป็นผลกระทบต่อชีวิต
ปัญหาการล่อลวงไปทำให้เกิดความเสียหาย ผ่านทาง Social media ต่างๆ เช่น ทาง Facebook หรือ Skype ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม
ปัญหาการเผยแพร่คลิปวีดีโอที่ไม่เหมาะสม เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต ทำให้เกิดผลกระทบด้านสังคม
ปัญหาการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพ่ิมมากขึ้น จนทำให้เกิดปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งนับวันจะเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งนับเป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่า การเลือกใช้เทคโนโลยีใดโดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ใช้เทคโนโลยีอย่างไม่เหมาะสม เกินความจำเป็นหรือมากเกินไป ใช้แบบขาดสติความยั้งคิด ขาดจริยธรรม ขาดความรับผิดชอบ ก็จะทำให้เกิดผลเสียหายในด้านต่างๆตามมาอย่างมากมาย
ผลกระทบที่เกิดจาการใช้เทคโนโลยีต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น หากมนุษย์ยังขาดการไตร่ตรองพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนนำเทคโนโลยีมาใช้ ดังนั้นก่อนการเลือกใช้เทคโนโลยีใดๆควรจะได้มีการวิเคราะห์ถึงผลกระทบทั้ง ผลดีและผลเสียอย่างรอบคอบเสียก่อน และประการสำคัญก็คือ การตัดสินในเลือกใช้เทคโนโลยีควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการที่แท้จริง ซึ่งหลักเกณฑ์ที่สำคัญในการเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ก็คือ การเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น