คะแนนแบบฝึกหัดระหว่างเรียน หน่วยที่ 2 ชุดที่ 4


แบบฝึกหัดระหว่างเรียน หน่วยที่ 2 ชุดที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของโลหะ ว21103
คะแนนรวม9/10
คะแนนของส่วน0/0
ชื่อ - สกุล *
โชติพัชร รอดเนียม
เลขที่ *
24
ชั้น *
ม.1/7
โลหะ คือ วัสดุที่ประกอบด้วยธาตุโลหะที่มีอิเล็กตรอนอิสระอยู่มากมาย นั่นคืออิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่ได้เป็นของอะตอมใดอะตอมหนึ่งโดยเฉพาะ ทำให้มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการ เช่นเป็นตัวนำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีมากไม่ยอมให้แสงผ่านผิวของโลหะที่ขัดเรียบจะมีลักษณะเป็นมันวาวมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของแข็ง (ยกเว้นปรอทซึ่งมีสถานะเป็นของเหลว)โลหะมีความแข็ง และเหนียว จึงสามารถแปรรูปได้จึงถูกใช้งานในด้านโครงสร้างอย่างกว้างขวางธาตุที่มีสมบัติความเป็นโลหะสูง คือ ธาตุที่สามารถให้ หรือสูญเสียอิเล็กตรอนแก่ธาตุอื่น ๆ ได้ดีโลหะที่มีมากที่สุดในโลก คือ อะลูมิเนียม คุณสมบัติของโลหะสามารถแยกได้ทั้งหมด 6 ประเภท ดังนี้ 1.คุณสมบัติทางกล (Mechanical properties) ได้แก่ ความแข็ง (Hardness) ความแกร่ง (Strength) 2.คุณสมบัติความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ได้แก่ โมดูลัสความยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) 3.คุณสมบัติทางเคมี (Chemical properties) ได้แก่ ความทนทานต่อการกัดกร่อน 4.คุณสมบัติทางไฟฟ้า (Electrical properties) ได้แก่ ความต้านทานทางไฟฟ้า 5.คุณสมบัติทางความร้อน (Thermal properties) ได้แก่ อุณหภูมิจุดหลอมเหลว 6.คุณสมบัติอื่นๆ ได้แก่ ความสึกหรอ (Wear) และความหนาแน่น คุณสมบัติทางกลสำหรับวิชาโลหะวิทยา คุณสมบัติขั้นพื้นฐานในทางกลนั้นประกอบด้วยความแข็งแกร่ง ความแข็ง และความเหนียว (Ductility) ซึ่งทั้ง 3 คุณสมบัติดังกล่าวเป็นคุณสมบัติที่มีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน โดยที่ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งจะแปรผกผันกับค่าความเหนียว กล่าวคือ เมื่อวัสดุมีค่าความเหนียวมาก ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งจะลดลง ตรงกันข้ามเมื่อวัสดุมีค่าความแข็งและความแข็งแกร่งมากขึ้น ค่าความเหนียวจะลดลงจนทำให้วัสดุมีความเปราะ (Brittle)ความแข็งความแข็ง หมายถึงความต้านทานการเสียรูปถาวรของวัสดุ ซึ่งที่วัสดุที่มีค่าความแข็งมากจะมีค่าความแข็งแกร่งมากขึ้นเช่นเดียวกัน หากต้องการให้ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งเพิ่มโดยที่ค่าความเหนียวไม่ลดลง สามารถทำได้โดยการเติมส่วนผสมของธาตุลงไปในโลหะหลอมขณะอยู่ในขั้นตอนการหลอมโลหะ วิธีการดังกล่าวสามารถเพิ่มคุณภาพด้านความแข็งและความแข็งแกร่งแก่โลหะได้ โดยที่มีค่าความเหนียวคงที่ความเหนียวและความเปราะ ความเหนียวและความเปราะ เป็นคุณสมบัติที่ตรงข้ามกันเสมอ ซึ่งคุณสมบัติทั้งสองดังกล่าวได้ถูกนำมาศึกษาและทดสอบเกี่ยวกับความเหนียวของวัสดุ โดยที่วัสดุที่มีความเหนียว หมายถึงวัสดุที่สามารถยืดได้มากก่อนจะขาดออกจากกัน ส่วนวัสดุที่มีความเปราะหรือมีความเหนียวน้อย หมายถึงวัสดุที่สามารถยืดได้น้อย หรือไม่สามารถยืดได้เลย ก่อนจะขาดออกจากกัน
ให้นักเรียนศึกษาเนื้้อหาแล้วตอบคำถาม
คะแนนของส่วน9/10
1.โลหะคืออะไร *
1/1
2.โลหะที่มีมากที่สุดในโลกคือโลหะอะไร *
1/1
3. เพราะอะไร โลหะจึงใช้ในการโครงสร้างได้ดี *
1/1
4.คุณสมบัติของโลหะสามารถแยกได้กี่ประเภท *
0/1
5.ความแข็งและความแกร่งของโลหะจัดเป็นคุณสมบัติด้านใด *
1/1
6.ยกตัวอย่างคุณสมบัติความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด *
1/1
7. คุณสมบัติทางเคมีได้แก่คุณสมบัติด้านใด *
1/1
8.ข้อใดบอกตัวอย่างคุณสมบัติทางไฟฟ้า (Electrical properties) ของโลหะได้ถูกต้องที่สุด *
1/1
9.คุณสมบัติทางความร้อน (Thermal properties) ของโลหะวัดจากอะไร *
1/1
10.เมื่อวัสดุมีค่าความเหนียวมาก ค่าความแข็งและความแข็งแกร่งจะเป็นเช่นไร *
1/1

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

3.การเดินทางมาโรงเรียน

4.การทำไข่เจียว